## Episode68: Kinesiology of Shoulder complex#2

______ข้อต่อที่อยู่ใน shoulder complex จะมีอยู่ 4 ตัวหลักๆ เคลื่อนไหวร่วมกันเป็น kinematic links เพื่อทำให้เกิด range of motion ได้มากที่สุด จึงมีความสำคัญต่อการทำงานของ upper limb ทั้งหมด การที่เกิดการบาดเจ็บหรือมีปัญหาที่จุดใดจุดหนึ่ง จะส่งผลต่อการทำงานของ upper limb ทั้งหมดได้ ในบทนี้ผมจะเริ่มพูดถึงการทำงานของข้อต่อแรก คือ “Sternoclavicular joint”(SC joint) ครับ

## Episode67: Kinesiology of Shoulder complex#1

______บทความแรกของเรื่อง shoulder complex ผมจะเริ่มจากการพูดถึงกระดูกที่เกี่ยวข้องกับบริเวณหัวไหล่ โดยจะพูดถึงกระดูกอยู่ทั้งหมด 4 ชิ้น คือ humerus, scapula, clavicle และsternumครับ ซึ่งจะประกอบกันเป็นข้อต่อสำคัญ 4 ส่วน คือ Glenohumeral joint, Scapulothoracic joint, Acromioclavicular joint และ Sternoclavicular jointครับ

## Episode66: Kinesiology of Sacroiliac joint#11

______การเคลื่อนไหวของsacrumต่อiliumมีการเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนกว่าตำแหน่งอื่นๆ ในบทความก่อนๆผมได้พูดถึงการเคลื่อนไหวที่เกิดเป็นbillateral motion  ทั้งnutationและcounter-nutationกันไปแล้ว แต่sacrumยังสามารถเคลื่อนไหวในทิศทางของการหมุน(sacral torsion)ได้ผ่านการเคลื่อนไหวรอบแกนสมมติ(sacral axis) ในบทความนี้ผมจะมาพูดถึงรายละเอียดในส่วนนี้กันครับ

## Episode65: Kinesiology of Sacroiliac joint#10

______หลังจากที่เราเข้าใจการเคลื่อนไหวว่าsacrum nutation/counter-nutationไปบนinnominate boneได้อย่างไร(sacroiliac) และinnominate bone เคลื่อนที่ไปบนsacrum(iliosacral)อย่างไรแล้ว ต่อไปผมจะพูดถึงการเคลื่อนไหวที่เกิดcombineกันระหว่างsacroiliac, iliosacral, lumbar และhip jointกันนะครับ

## Episode64: Kinesiology of Sacroiliac joint#9

______บทความที่แล้วผมได้พูดถึงการเคลื่อนไหวภายในเชิงกรานว่าเราแบ่งการเคลื่อนไหวหลักๆได้เป็น3ส่วนคือsacroiliac motion, iliosacral motion, symphysis pubis motionและได้พูดถึงการเคลื่อนไหวsacroiliac motionกันไปแล้ว ในบทความนี้ผมจะพูดถึง2ส่วนที่เหลือคือiliosacral motion, symphysis pubis motionกันครับ

## Episode63: Kinesiology of Sacroiliac joint#8

sacroiliac motion

______ในบทความที่ผ่านๆมาผมได้พูดถึงโครงสร้างของsacroiliac joint ทั้งbone, ligament, articular surface รวมถึงหน้าที่ของข้อต่อนี้กันไปแล้ว ในบทความนี้ผมจะเริ่มพูดถึงการเคลื่อนไหวของsacroiliac jointกันครับ

## Episode62: Kinesiology of Sacroiliac joint#7

sacroiliac ligament

______ในบทความก่อนๆที่ผมได้พูดถึงsacroiliac jointว่าเป็นข้อต่อที่มีความมั่นคงสูงมาก ซึ่งส่วนหนึ่งก็มาจากpassive structureอย่างligament ในบทความนี้ผมจะมาลงรายละเอียดถึงligamentว่า แต่ละตัวมีจุดเกาะอยู่ตรงไหนและมีความสำคัญอย่างไรนะครับ

## Episode61: Kinesiology of Sacroiliac joint#6

SIJ articular surface

______ในบทความก่อนๆผมได้พูดถึงความสำคัญของsacroiliac jointกันไปแล้ว ซึ่งการเข้าใจรูปร่างของarticular surfaceนั้น มีส่วนสำคัญมากต่อการเข้าใจbiomechanicของข้อต่อนี้ครับ ในบทความนี้ผมเลยจะมาพูดถึงรูปร่างของarticular surface รวมถึงความสำคัญต่อspinal dynamicsนะครับ

## Episode60: Kinesiology of Sacroiliac joint#5

pelvic girdle mechanics and stability

______Pelvic girdle เป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่ส่งผ่านแรงระหว่างspine กับ lower limb ดังนั้นpelvic girdleจึงถือว่าเป็นkey structureที่สร้างstabilityและmobilityให้กับร่างกาย ในบทความนี้ผมจะพูดถึงโครงสร้างของpelvic girdleนี้และmechanismที่ทำให้เกิดstability ซึ่งมีส่วนสำคัญในcaseที่มีปัญหาlow back painอีกด้วยครับ

## Episode59: Kinesiology of Sacroiliac joint#4

sexual dimorphism of the pelvic girdle

______โครงสร้างของเชิงกรานที่ผมได้พูดถึงในบทความก่อนนั้น จริงๆแล้วเป็นผลมาจากวิวัฒนาการตั้งแต่สมัยก่อน เริ่มจากตอนที่มนุษย์เริ่มขึ้นมาเดินโดยใช้2ขา(bipedalism) ทำให้น้ำหนักที่ลงที่เชิงกรานไม่เหมือนเดิม รวมถึงรูปแบบการใช้ชีวิตก็จะไม่เหมือนเดิมด้วย ซึ่งความเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลถึงรูปร่างของเชิงกรานที่ต้องเปลี่ยนแปลงเพื่อรับกับfunctionต่างๆด้วย ดังนั้นในผู้ชายกับผู้หญิงที่มีธรรมชาติการใช้ชีวิตไม่เหมือนกันก็จะมีรูปร่างของเชิงกรานที่ไม่เหมือนกันด้วย บทความนี้ผมจะมาพูดถึงความแตกต่างของเชิงกรานในผู้ชายและผู้หญิงกันนะครับ